วันอาทิตย์ที่ 13 ตุลาคม พ.ศ. 2556

Research article.

วัตถุประสงค์
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและเจตคติต่อการเรียน วิชาวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่ได้รับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบออนไลน์ (e-Learning) กับการเรียนรู้แบบปกติ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยคือนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 จำนวน 80 คน

 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย 
1.)แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ 
2.)แบบวัดเจตคติต่อการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ บทเรียนออนไลน์ (e-Learning)  
3.)แผนการจัดการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์เรื่องบรรยากาศ 

สถิติ
สถิติที่ใช้คือ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานและการทดสอบ ค่าที (t-test) ผลการวิจัยพบว่า
 1) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ เรื่อง บรรยากาศ ของ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 กลุ่มที่ได้รับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบออนไลน์สูงกว่ากลุ่มที่ได้รับการเรียนรู้แบบปกติอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01
 2) คะแนนเจตคติต่อการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ของนักเรียนกลุ่มที่ได้รับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบออนไลน์สูงกว่ากลุ่มที่ได้รับการเรียนรู้แบบปกติอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01
 3) คะแนนเจตคติต่อการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ของนักเรียนกลุ่มที่ได้รับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบออนไลน์หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01

น.ส.พัชรวี  สิริเวชพันธุ์

วันอาทิตย์ที่ 29 กันยายน พ.ศ. 2556

Learning compensation.

Learning compensation.

- วันนี้ อาจารย์ทั้ง 2 ได้นัดให้มีการเรียนชดเชย โดยให้นักศึกษาออกมานำเสนอ 
   การทดลอง "วิทยาศาสตร์" ทีละคน

- หลังจากได้ทดลองแล้ว ให้ส่งชิ้นงานของเล่นวิทยาศาสตร์ และ วิทยาศาสตร์เข้ามุม พร้อม paper 
  ทีละคน ตามลำดับเลขที่





                                                                                                                           

วันพุธที่ 25 กันยายน พ.ศ. 2556

Recorded teaching 18

Recorded teaching. 

วันนี้อาจารย์ได้ให้สรุปองค์ความรู้ที่ได้มาในวิชาการจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัยตลอดทั้งเทอมผ่านการทำ Mindmapping เขียนลงในกระดาษระบายสีให้สวยงาม

วันพุธที่ 18 กันยายน พ.ศ. 2556

Recorded teaching 17

Recorded teaching. 

ในวันนี้อาจารย์นัดให้ทำอหาร คือ ไข่ตุ๋นทรงเครื่อง ให้มีตัวแทนออกมาเป็นครูสอน และมีนักศึกษาที่ทำเป็นออกมาทำและแสดงเป็นนักเรียน ซึ่งไข่ตุ๋นที่ทำมีรสชาตอร่อย ไม่แข็งจนเกินไป และมีขั้นตอนและวิธีทำดังนี้

ส่วนประกอบและเครื่องปรุง
1. ไข่ไก่ 2 ฟอง
2. เนื้อกุ้ง (แกะเปลือกออกทั้งหมด)
3. ต้นหอมซอย
4. แครอท บล็อคโคลี่ (ผักสามารถเปลี่ยนได้ตามความต้องการค่ะ)
5. น้ำเปล่า
6. สาหร่ายคนบุ
7. ปลาแห้ง
8. ซีอิ้วขาว

ขั้นตอนวิธีทำไข่ตุ๋น
1. เริ่มอย่างแรกด้วยการทำน้ำซุปก่อนค่ะ นำน้ำเปล่า ปลาแห้ง และสาหร่ายคนบุใส่หม้อตั้งไฟ ต้มให้ได้ที่ระวังอย่าให้เกิดฟอง จากนั้นกรองด้วยกระชอนตาถี่ก็จะได้น้ำซุปปลาใสพักไว้ให้เย็น

วันอาทิตย์ที่ 15 กันยายน พ.ศ. 2556

Learning compensation.

Recorded teaching. 

วันนี้อาจารย์ได้ให้แต่ละกลุ่มเขียนแผนโดยกำหนดเป็นเรื่อง อาหาร ให้เขียนขั้นตอนการทำอาหารที่เลือก เขียนความสำคัญของอาหาร ให้คิดว่าแต่กลุ่มจะทำอาหารอะไรมีวัสดุอะไรบ้าง ให้เขียนใส่กระดาษ 4 แผ่น ให้แต่ละกลุ่มออกไปนำเสนอ จากนั้นอาจารย์ก็ให้เลือกว่าจะให้ทำอาหารอะไรในวันพุธ ทุกคนเลือกทำไข่ตุ๋น ในสัปดาห์หน้า 

วันพุธที่ 11 กันยายน พ.ศ. 2556

Recorded teaching 15

Recorded teaching


ไม่มีการเรียนการสอน
เนื่องจากอาจารย์ติดธุระ ได้สั่งานไว้ในทำ คือบล๊อกและรูปเล่มโครงงานที่ไปศึกษาในโรงเรียนทั้ง 2 แห่ง

วันพุธที่ 4 กันยายน พ.ศ. 2556

Recorded teaching 14

Recorded teaching 


*ไม่มีการเรียนการสอน*
 เนื่องจากอาจารย์ติดธุระ และได้สั่งานให้ทำ คือรวบรวมผลงานที่ไปศึกษาดูงานมาจากโรงเรียนทั้ง  2 แห่ง